ประมงอุบลฯ ร่วมติดตามผลการดำเนินงานโครงการไทย - ลาว ร่วมจัดการ ฟื้นฟูทรัพยากรประมง ในแม่น้ำโขงตอนล่าง (ระยะที่ 3)


[2025-07-24] ประมงอำเภอเขื่องใน ขับเคลื่อนงานด้านการส่งเสริมอาชีพด้านการประมงในพื้น.. [2025-07-24] ประมงอุบลฯ ประชุมศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร กระทรวง.. [2025-07-24] ประมงอำเภอวารินชำราบ ร่วมถวายเทียนเนื่องในเทศกาลวันเข้าพรรษาประจำปี 25.. [2025-07-24] ประมงอุบลฯ ร่วมให้บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชนุเคราะห์ ครั้งที.. [2025-07-23] ประมงอุบล ร่วมประชุมแผนปฏิบัติการสนทนากลุ่ม เรื่อง การจัดทำแผนที่นำทาง.. [2025-07-23] ประมงอุบลฯ ประชุมคณะกรรมการประมงประจำจังหวัดอุบลราชธานี ครั้งที่ 1/256.. [2025-07-23] ประมงอำเภอเขื่องใน ขับเคลื่อนงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภ.. [2025-07-23] ประมงอุบลราชธานี ดำเนินงานตามแผนงานโครงการพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงปลาตะ.. [2025-07-23] ประมงอุบลราชธานี ดำเนินงานตามแผนงานโครงการพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงปลาต.. [2025-07-23] ประมงอุบล ร่วมพิธีเปิดอบรมสัมมนาทางวิชาการเครือข่ายอุทยานธรณีประเทศไทย.. อ่านทั้งหมด 

ประมงอุบลฯ ร่วมติดตามผลการดำเนินงานโครงการไทย - ลาว ร่วมจัดการ ฟื้นฟูทรัพยากรประมง ในแม่น้ำโขงตอนล่าง (ระยะที่ 3) 

 ข่าวประชาสัมพันธ์  ข่าวเด่นประเด็นร้อน

ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

             วันที่ 6 พฤษภาคม 2568 เวลา 10.00 น. ณ เขตพื้นที่อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี นายสุริยันต์  วรรณวงษ์  ประมงจังหวัดอุบลราชธานี มอบหมายให้นายเอกชัย ปัญญาแก้ว เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน กลุ่มบริหารจัดการด้านการประมง และคณะ พร้อมด้วยนางสาวรัตติยากรณ์ ศรสิงห์ ประมงอำเภอน้ำยืน ร่วมกับองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล สำนักงานประเทศไทย (องค์กร WWF Thailand) และเจ้าหน้าที่จากเมืองละคอนเพ็ง แขวงสาละวัน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ติดตามผลการดำเนินงานโครงการไทย - ลาว ร่วมจัดการ ฟื้นฟูทรัพยากรประมง ในแม่น้ำโขงตอนล่าง (ระยะที่ 3) ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี ร่วมกับแขวงสาละวัน พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติภูเวียงทอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดังนี้

1. บ้านปากกะหลาง หมู่ที่ 6 ตำบลสองคอน อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี
2. บ้านผาชัน หมู่ที่ 7 ตำบลสำโรง อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี

เพื่อดูแล ปรับปรุง ฟื้นฟู ความหลายหลายทางชีวภาพ ของทรัพยากรน้ำจืดในแม่น้ำโขงตอนล่าง โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ ใช้ประโยชน์ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ให้ดีขึ้น นำไปสู่การจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน


คุยกับน้องมัจฉา Add Friends คุยกับน้องมัจฉา