เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา ออกปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลสภาวะการทำประมงพื้นบ้านในพื้นที่จังหวัดสงขลา ประจำเดือนธันวาคม 2565 ณ ท่าขึ้นสัตว์น้ำในหมู่บ้านชาวประมง โดยได้เก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือประมงพื้นบ้าน จำนวนทั้งสิ้น 15 ลำ ประกอบด้วย อวนจมปู จับได้ปูม้าเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยปูม้าที่จับได้มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 13.94 (11.50-17.00) ซม. อวนลอยกุ้งสามชั้น จับได้กลุ่มปลาจวดเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยกุ้งแชบ๊วยที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 15.43 (12.00-18.50) ซม. และกุ้งโอคักที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 11.48 (8.00-14.00) ซม.และอวนลอยปลาทู จับได้ปลาทูเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยปลาทูที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 17.43 (15.00-19.00) ซม. สำหรับอัตราการจับ และองค์ประกอบชนิดสัตว์น้ำของแต่ละเครื่องมือประมงโดยสังเขปดังนี้

 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา


เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา ออกปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลสภาวะการทำประมงพื้นบ้านในพื้นที่จังหวัดสงขลา ประจำเดือนธันวาคม 2565 ณ ท่าขึ้นสัตว์น้ำในหมู่บ้านชาวประมง โดยได้เก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือประมงพื้นบ้าน จำนวนทั้งสิ้น 15 ลำ ประกอบด้วย อวนจมปู จับได้ปูม้าเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยปูม้าที่จับได้มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 13.94 (11.50-17.00) ซม. อวนลอยกุ้งสามชั้น จับได้กลุ่มปลาจวดเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยกุ้งแชบ๊วยที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 15.43 (12.00-18.50) ซม. และกุ้งโอคักที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 11.48 (8.00-14.00) ซม.และอวนลอยปลาทู จับได้ปลาทูเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยปลาทูที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 17.43 (15.00-19.00) ซม. สำหรับอัตราการจับ และองค์ประกอบชนิดสัตว์น้ำของแต่ละเครื่องมือประมงโดยสังเขปดังนี้ 



เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา ออกปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลสภาวะการทำประมงพื้นบ้าน
ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ประจำเดือนธันวาคม 2565 ณ ท่าขึ้นสัตว์น้ำในหมู่บ้านชาวประมง โดยได้เก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือประมงพื้นบ้าน จำนวนทั้งสิ้น 15 ลำ ประกอบด้วย อวนจมปู จับได้ปูม้าเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยปูม้าที่จับได้มีความกว้างกระดองเฉลี่ย 13.94 (11.50-17.00) ซม. อวนลอยกุ้งสามชั้น จับได้กลุ่มปลาจวดเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยกุ้งแชบ๊วยที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 15.43 (12.00-18.50) ซม. และกุ้งโอคักที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 11.48 (8.00-14.00) ซม.และอวนลอยปลาทู จับได้ปลาทูเป็นสัตว์น้ำหลัก โดยปลาทูที่จับได้มีความยาวเหยียดเฉลี่ย 17.43 (15.00-19.00) ซม.สำหรับอัตราการจับ และองค์ประกอบชนิดสัตว์น้ำของแต่ละเครื่องมือประมงโดยสังเขปดังนี้

 Tags

  •  บทความหน้าหลัก Hits 10 อันดับ (6 เดือน)
  • ยังไม่มีการจัดลำดับบทความรอบ 6 เดือน!
  •  กิจกรรม Hits 10 อันดับ (6 เดือน)
  •     เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา ออกปฏิบัติงานเก็บข้อมูลทรัพยากรปร...  175   เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา จัดประชุมเชิงปฏิบัติก...  159  เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2565 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา จัดประชุมเชิงปฏิบัติ...  146  เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2565 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา จัดประชุมเชิงปฏิบัติ...  140  เมื่อวันที่ 29-30 พฤศจิกายน และ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2565 เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒน...  100  รองอธิบดีกรมประมง เยี่ยมกลุ่มชาวเรือท่องเที่ยวตกปลา จังหวัดสงขลา   92  เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา ออกปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลสภาวะกา...  92  วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.00 น. เจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่...  86  วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม 2565 เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา ให้บริการจ...  78  เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา ออกปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลสภาวะกา...  76


    สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2566 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลสงขลา

     79/1 ถ.วิเชียรชม ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 Mail : smdec_dof@yahoo.com (สงขลา)    smdec_dof@yahoo.com   074-312595   074-312495   แฟนเพจ