เผยเเพร่: 2018-02-16 | อ่าน: 270 ครั้ง
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง มีหน้าความรับผิดชอบ ดังนี้
(1) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล สาหร่ายทะเล และ การจัดการฟาร์ม
(2) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ําและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา
(3) ศึกษา ค้นคว้า และวิจัยการผลิตและการขยายพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเลและสาหร่ายทะเล
(4) ศึกษา ค้นคว้า และวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล และสาหรายทะเล ่ รวมทั้งดําเนินการเกี่ยวกับสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล และสาหร่ายทะเล
(5) ศึกษา วิจัย และส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจและอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล และสาหร่าย ทะเล
(6) ศึกษา วิจัย และทดลองรูปแบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล สาหร่ายทะเลในฟาร์ม โดย มุ่งเน้นการมีสวนร ่ ่วมของเกษตรกร
(๗) ผลิตและขยายพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล และสาหร่ายทะเล
(๘) กํากับ ควบคุม ตรวจสอบ ติดตาม และเฝ้าระวังกระบวนการผลิตสัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล และสาหร่าย ทะเลเพื่อการเพาะเลี้ยง ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนดหรือมาตรฐานสากล
(๙) ให้บรการทางวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและให้คําปรึกษาแนะนําด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง สัตว์ทะเล และสาหร่ายทะเล
(๑๐) ให้บริการตรวจวินิจฉัยคุณภาพดินและน้ํา รวมทั้งกําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ําในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา ชายฝั่ง สัตว์ทะเล และสาหรายทะเล ่ (๑1) กํากบั ควบคุม และตรวจสอบการบริหารงานระบบชลประทานน้ําเค็มเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา ชายฝั่ง (๑2) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย โดยแบ่งงานภายในเป็น 1 ฝ่าย 5 กลุ่ม 7 ศูนย์ดังนี้
กลุ่มวิชาการ
(1) ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์และวิจัยดานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง สาหร่ายทะเล เพื่อพัฒนา งานวิชาการ และร่วมศึกษา วิจัยและพัฒนางานวิชาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(2) จัดทํากรอบนโยบายและแผนงานวิจัยของกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง
(3) ร่วมวางแผนและประสานงานวิชาการ ให้คําปรึกษา เสนอแนะแก่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ําชายฝั่ง ในการจัดทําและกลั่นกรองงานวิจัยเพื่อไม่ให้ซ้ําซ้อน และให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตาม แนวนโยบายและแผนงานวิจัยของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกรม รวมทั้งการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการ ศึกษาวิจัย
(4) ติดตามประเมินผลและประมวลผลงานวิจัย สํารวจรวบรวมข้อมูล ปัญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน เพื่อเป็นข้อมูลในการบริหารและวางแนวทางงานวิจัย
(5) จัดระบบสนเทศและประมวลข้อมูลทางวิชาการเพื่อให้บริการแก่นักวิชาการและผู้สนใจ
(6) ปฏิบัติงานงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย