ประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียปัญหาการเพาะเลี้ยงหอยทะเลในที่อนุญาตให้ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำซึ่งเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (หอยทะเล)


[2025-07-18] ตรวจสอบเรือประมงที่เข้าร่วมโครงการนำเรือประมงออกนอกระบบ.. [2025-07-18] ตรวจสอบเรือร่วม โครงการนำเรือประมงออกนอกระบบ เพื่อการจัดการทรัพยากรประ.. [2025-07-18] ประชาสัมพันธ์การสำรวจความพึงพอใจของศูนย์รวมข้อมูลเพื่อติดต่อราชการ.. [2025-07-18] ขอเชิญร่วมตอบแบบสำรวจความพึ่งพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหน่วยงานข.. [2025-06-11] รายชื่อยาต้านจุลชีพที่อนุญาตให้ใช้ใน การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำปี ๒๕๖๘.. [2025-06-11] ปิดอ่าวไทยรูปตัว "ก".. [2025-06-11] ประชุมชี้แจง การแก้ไขปัญหาโรคกุ้งทะเล (Mobile Clinic) พื้นที่จังหวัดเพ.. [2025-06-10] รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ.. [2025-06-10] การประชุมวิชาการประมง ประจำปี 2568” ภายใต้หัวข้อ “วิจัยและนวัตกรรม : ข.. [2025-06-10] วันทะเลโลก" ประจำปี ๒๕๖๘ ภายใต้หัวข้อ"WONDER : SUSTAINING WHAT SUSTAIN.. อ่านทั้งหมด 

ประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียปัญหาการเพาะเลี้ยงหอยทะเลในที่อนุญาตให้ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำซึ่งเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (หอยทะเล) 

 ข่าวประชาสัมพันธ์  หน่วยงาน  หน่วยงานส่วนภูมิภาค

ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

วันที่ 18 ธันวาคม 2567 เวลา 13.30 น. นายประจวบ เจี้ยงยี่ ประมงจังหวัดเพชรบุรี มอบหมายกลุ่มบริหารจัดการด้านการประมงและประมงอำเภอบ้านแหลม  จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียปัญหาการเพาะเลี้ยงหอยทะเลในที่อนุญาตให้ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำซึ่งเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (หอยทะเล) และประเด็นการใช้วัสดุพลาสติกในการเลี้ยงหอย ณ ห้องประชุมศาลาประชาคมที่ว่าการอำเภอบ้านแหลม อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 40 คน โดยที่ประชุมมีข้อสรุป ดังนี้
1. การใช้วัสดุพลาสติกในการเลี้ยงหอยทะเล (แกลลอน, กระสอบปุ๋ย) ในพื้นที่ตำบลบ้านแหลมนั้นได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่กรมประมง (เพื่อหลีกเลี่ยงการตายของหอยจากการเลี้ยงแบบหลัก) โดยนำต้นแบบจากจังหวัดสุราษฎ์ธานีมาแนะนำพร้อมทั้งมีการนำภาพการเลี้ยงแบบแกลลอนมาแสดงประกอบ
2. หากกรมประมงจะไม่ให้ใช้วัสดุพลาสติกในการเลี้ยงหอยทะเล ต้องมีงานวิจัยมารองรับว่าการใช้วัสดุพลาสติกหรือกระสอยปุ๋ยในการเลี้ยงหอยทะเลส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ในระหว่างที่ยังไม่มีผลการวิจัยทางวิชาการที่ชัดเจนก็ขอให้เลี้ยงแบบเดิมไปก่อน
3. ขอให้คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบุรีประกาศเขตพื้นที่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงหอยทะเล ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีเพิ่มเติม เนื่องจากที่มีอยู่ไม่เพียงพอ จะได้ไม่มีการรุกล้ำพื้นที่สาธารณะ
4. ขอให้กรมประมงลดค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ในที่จับสัตว์น้ำซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จากเดิม ไร่ละ 800 บาท ต่อ 2 ปี เป็น ไร่ละ 100 บาท ต่อ 1 ปี โดยไม่ต้องมีการยกเว้นค่าธรรมเนียมวันที่ 18 ธันวาคม 2567 เวลา 13.30 น. นายประจวบ เจี้ยงยี่ ประมงจังหวัดเพชรบุรี มอบหมายกลุ่มบริหารจัดการด้านการประมงและประมงอำเภอบ้านแหลม  จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียปัญหาการเพาะเลี้ยงหอยทะเลในที่อนุญาตให้ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในที่จับสัตว์น้ำซึ่งเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (หอยทะเล) และประเด็นการใช้วัสดุพลาสติกในการเลี้ยงหอย ณ ห้องประชุมศาลาประชาคมที่ว่าการอำเภอบ้านแหลม อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 40 คน โดยที่ประชุมมีข้อสรุป ดังนี้
1. การใช้วัสดุพลาสติกในการเลี้ยงหอยทะเล (แกลลอน, กระสอบปุ๋ย) ในพื้นที่ตำบลบ้านแหลมนั้นได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่กรมประมง (เพื่อหลีกเลี่ยงการตายของหอยจากการเลี้ยงแบบหลัก) โดยนำต้นแบบจากจังหวัดสุราษฎ์ธานีมาแนะนำพร้อมทั้งมีการนำภาพการเลี้ยงแบบแกลลอนมาแสดงประกอบ
2. หากกรมประมงจะไม่ให้ใช้วัสดุพลาสติกในการเลี้ยงหอยทะเล ต้องมีงานวิจัยมารองรับว่าการใช้วัสดุพลาสติกหรือกระสอยปุ๋ยในการเลี้ยงหอยทะเลส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ในระหว่างที่ยังไม่มีผลการวิจัยทางวิชาการที่ชัดเจนก็ขอให้เลี้ยงแบบเดิมไปก่อน
3. ขอให้คณะกรรมการประมงประจำจังหวัดเพชรบุรีประกาศเขตพื้นที่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสำหรับกิจการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม ประเภท การเพาะเลี้ยงหอยทะเล ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีเพิ่มเติม เนื่องจากที่มีอยู่ไม่เพียงพอ จะได้ไม่มีการรุกล้ำพื้นที่สาธารณะ
4. ขอให้กรมประมงลดค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ในที่จับสัตว์น้ำซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จากเดิม ไร่ละ 800 บาท ต่อ 2 ปี เป็น ไร่ละ 100 บาท ต่อ 1 ปี โดยไม่ต้องมีการยกเว้นค่าธรรมเนียม


คุยกับน้องมัจฉา Add Friends คุยกับน้องมัจฉา