การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566


[2025-07-09] ลงพื้นที่ติดตามการฝึกอบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมอาชีพประมง ก.. [2025-07-09] ลงพื้นที่ติดตามการฝึกอบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมอาชีพประมง ก.. [2025-06-04] ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วมแหล.. [2025-03-06] ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม ณ.. [2025-02-24] ลงพื้นที่ติดตามการฝึกอบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมอาชีพประมง ก.. [2024-12-12] วารสารการประมงอิเล็กทรอนิกส์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2567).. [2024-12-02] ประชุมชี้แจงโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์.. [2024-11-04] ประชุมชี้แจงโครงการด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ ประจำปีงบปร.. [2024-11-01] ประชุมพิจารณาคัดเลือกแหล่งน้ำที่ดำเนินการโครงการธนาคารสินค้าเกษตร กิจก.. [2023-02-27] การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญ.. อ่านทั้งหมด 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 

 ข่าวประชาสัมพันธ์  ประชาสัมพันธ์กรมประมง

ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมกะโห้ ชั้น 1 อาคารเชิดชาย อมาตยกุล กรมประมง 
นายธเนศ พุ่มทอง ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 ผ่านการประชุมออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำเศรษฐกิจ 14 ชนิด (ปลานิล ปลาดุก ปลาแรด ปลาสลิด ปลาช่อน ปลาตะเพียนขาว  ปลาหมอ กบนา ปลาสวาย ปลากดเหลือง ปลากดหลวง ปลาเทโพ ปลายี่สกเทศ ปลานวลจันทร์เทศ) และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจาก ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดทั่วประเทศเข้าร่วมประชุม โดยมี นางสาวมาลาศรี คำศรี หัวหน้ากลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ ทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุฯ การประชุม  การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นสืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 โดยที่ประชุมได้พิจารณานำข้อคิดเห็นจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อบแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 มาพิจารณา- เพื่อการปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 (ปลานิล ปลาดุก ปลาสลิด ปลาช่อน และปลาแรด) ให้ครอบคลุมในทุกมิติและเหมาะสม ตลอดจนพิจารณาแนวทางการติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 -2570 (จำนวน 14 ชนิด) ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อนำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ.2565-2570 พิจารณาต่อไปวันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมกะโห้ ชั้น 1 อาคารเชิดชาย อมาตยกุล กรมประมง 
นายธเนศ พุ่มทอง ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 ผ่านการประชุมออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำเศรษฐกิจ 14 ชนิด (ปลานิล ปลาดุก ปลาแรด ปลาสลิด ปลาช่อน ปลาตะเพียนขาว  ปลาหมอ กบนา ปลาสวาย ปลากดเหลือง ปลากดหลวง ปลาเทโพ ปลายี่สกเทศ ปลานวลจันทร์เทศ) และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจาก ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดทั่วประเทศเข้าร่วมประชุม โดยมี นางสาวมาลาศรี คำศรี หัวหน้ากลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ ทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุฯ การประชุม  การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นสืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 โดยที่ประชุมได้พิจารณานำข้อคิดเห็นจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อบแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 มาพิจารณา- เพื่อการปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 (ปลานิล ปลาดุก ปลาสลิด ปลาช่อน และปลาแรด) ให้ครอบคลุมในทุกมิติและเหมาะสม ตลอดจนพิจารณาแนวทางการติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 -2570 (จำนวน 14 ชนิด) ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อนำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ.2565-2570 พิจารณาต่อไป


คุยกับน้องมัจฉา Add Friends คุยกับน้องมัจฉา