การวิเคราะห์ตัวอย่างงานวิจัย “โครงการการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในสัตว์น้ำจากเรือสำรวจบริเวณแหล่งประมงอ่าวไทย” ระหว่างวันที่ 14-19 กรกฎาคม 2568


[2025-07-25] การวิเคราะห์ตัวอย่างงานวิจัย “โครงการการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในสัตว์น้ำ.. [2025-07-16] ประชาสัมพันธ์การรับฟังความเห็นต่อร่างประกาศกรมประมง เรื่อง มาตรฐานด้าน.. [2025-07-14] เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติภาร APEC Workshop on Marine Hazard Prevent.. [2025-07-14] ขอเชิญทุกท่านร่วมตอบแบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการตามคู่.. [2025-07-09] เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ “Workshop on Mitigation and Strategic.. [2025-05-30] ขอแสดงความยินดีกับ นางสาวฐิติกาญจน์ บู่สามสาย “ผู้ปฏิบัติงานดีเด่น แล.. [2025-05-30] โครงการฝึกอบรมสำหรับบุคคลภายนอก หลักสูตร “มาตรฐานด้านสุขอนามัยในเรือปร.. [2025-03-17] เข้าร่วมการประชุม "คณะกรรมการกำหนดแนวทางการพิจารณาของพนักงานเจ้าหน้าที.. [2025-03-10] การประชุมพิจารณาร่างประกาศกรมประมง เรื่อง มาตรฐานด้านสุขอนามัยในเรือปร.. [2025-03-04] เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการควบคุมสุขอนามัยหอยสองฝา ครั้งที่ 1/2568.. อ่านทั้งหมด 

การวิเคราะห์ตัวอย่างงานวิจัย “โครงการการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในสัตว์น้ำจากเรือสำรวจบริเวณแหล่งประมงอ่าวไทย” ระหว่างวันที่ 14-19 กรกฎาคม 2568 

 ข่าวประชาสัมพันธ์  ประชาสัมพันธ์กรมประมง

ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

               นางสาวศันสนีย์ ศรีจันทร์งาม หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบแหล่งประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเล มอบหมายให้นางสาวสราลี ชูฉิม นักวิชาการประมงปฏิบัติการ นางสาวพีระพรรณ เจริญพร เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน นางสาวพัชรธร อรัญถิตย์ นักวิชาการประมง (พนักงานราชการ) และนางสาวพิรุณ จันทร์เทวี นักวิชาการประมง (พนักงานราชการ) เดินทางไปปฏิบัติราชการเพื่อวิเคราะห์ตัวอย่างงานวิจัยโครงการการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในสัตว์น้ำจากเรือสำรวจบริเวณแหล่งประมงอ่าวไทย เมื่อวันที่ 14-19 กรกฎาคม 2568 ณ ห้องปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง โดยมีผลการปฏิบัติงานดังนี้ วิเคราะห์ตัวอย่างสัตว์น้ำ จำนวน 108 ตัวอย่าง และจำแนกไมโครพลาสติกเบื้องต้นด้วยกล้องจุลทรรศน์ จำนวน 46 ตัวอย่าง พบไมโครพลาสติกประเภทเส้นใยสีน้ำเงินมากที่สุด รองลงมาเป็นเส้นใยสีดำ และเส้นใยสีใส ซึ่งมีความยาวอยู่ในช่วง 100-5,000 ไมโครเมตร ทั้งนี้จะส่งไปวิเคราะห์ด้วยเครื่อง Fourier Transform Infrared Spectrometer (FT-IR) เพื่อจำแนกชนิดของไมโครพลาสติกต่อไป


คุยกับน้องมัจฉา Add Friends คุยกับน้องมัจฉา