ปลาไทยๆ เป็นแหล่งที่ดีของโอเมก้า 3 ที่อาจช่วยชะลอหรือลดความเสี่ยงโรคตา และโรคกายได้หลายๆโรค

 สำนักงานประมงจังหวัดนครนายก


ปลาไทยๆ เป็นแหล่งที่ดีของโอเมก้า 3 ที่อาจช่วยชะลอหรือลดความเสี่ยงโรคตา และโรคกายได้หลายๆโรค 



HOT ปลาไทยๆ เป็นแหล่งที่ดีของโอเมก้า 3 ที่อาจช่วยชะลอหรือลดความเสี่ยงโรคตา และโรคกายได้หลายๆโรค..คลิก

"วันนี้คุณกินปลาแล้วหรือยัง?"

ปลาไทยๆ เป็นแหล่งที่ดีของโอเมก้า 3 ที่อาจช่วยชะลอหรือลดความเสี่ยงโรคตา และโรคกายได้หลายๆโรค

*** โอเมก้า 3***

(Omega-3)

ศ.พ.ญ.สกาวรัตน์ คุณาวิศรุต

ปัจจุบันสังคมไทยอยู่ในยุคกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (aging society) และจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (aged society) เร็วๆ นี้ ซึ่งหมายถึงเราจะมีประชากรอายุมากกว่า 60 ปี มากกว่า 20% ของประชากรประเทศ และคงต้องตามมาด้วยโรคจากความเสื่อมซึ่งทางตาที่สำคัญได้แก่ ตาแห้ง โรคต้อกระจก จอตาเสื่อมในผู้สูงอายุ (AMD) จอตาเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและพบว่าอาหารที่เหมาะสม ดำรงชีวิตแบบไม่เครียด ออกกำลังสม่ำเสมอ น่าจะชะลอโรคจากความเสื่อมได้บ้าง อาหารที่ชะลอโรคตาจากความเสื่อมที่กล่าวกันมากในขณะนี้ คือ Omega 3

Omega 3 เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดที่เรียกกันว่า polyunsaturated fatty acid ที่จำเป็นสำหรับคนเรา (essential fatty acid) และเป็นที่รู้กันว่า Omega 3 มีประโยชน์ต่อร่างกายหลายอย่าง เช่น ควบคุมระดับ triglyceride ลดการเกิดลิ่มเลือด ควบคุมความดันโลหิต ลดการอุดตันของหลอดเลือด บำรุงสมอง (เป็นที่เข้าใจว่า ถ้าอยากฉลาดต้องทานปลา) ทางตาพบว่า Omega 3 มีส่วนช่วยในการพัฒนาจอตา ปกป้องหลอดเลือดในจอตา รักษาภาวะตาแห้ง จึงแนะนำให้ใช้ในโรคจอตาเสื่อมในเด็กคลอดก่อนกำหนด (ROP) จอตาเสื่อมในผู้สูงอายุ (AMD) ตลอดจนคนที่มีภาวะตาแห้ง

ทุกคนพยายามบริโภคปลาทะเลน้ำลึก เช่น ปลาแซลมอน ซาร์ดีน แมคเคอรัล ที่สะสมไขมันจากการกินแพลงตอนทะเลด้วยเหตุผลข้างต้น ปลาดังกล่าวมีราคาค่อนข้างแพง ล่าสุดมีรายงานผลการวิจัยจากสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ตรวจปริมาณ Omega 3 และ 6 ในปลาทะเลไทยและปลาน้ำจืดไทย พบว่ามี Omega 3 และ 6 มากพอสมควร โดยเฉพาะปลาน้ำจืดที่หาได้ง่ายในบ้านเรามี Omega 3 และ 6 ไม่น้อยกว่าปลาแซลมอนเลย โดยเฉพาะปลาสวาย ปลาดุก ปลาช่อน ปลาตะเพียน เป็นต้น คาดกันว่าเป็นเพราะปลาน้ำจืดที่มีขายตามท้องตลาด เป็นปลาเลี้ยงได้อาหารจากส่วนที่เหลือจากโรงงานปลากระป๋องที่มีสารนี้มาก เราสามารถหันมาบริโภคปลาน้ำจืดบ้านเรากันได้ อย่างไรก็ตามการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ควรบริโภคหลากหลาย ทั้งเนื้อสัตว์ ผักผลไม้ร่วมด้วย และต้องระลึกไว้ว่า อาหารที่มี Omega 3 มากก็มักมีไขมันอื่นๆ มากด้วย ซึ่งหากไขมันอื่นมากย่อมไม่ดีต่อสุขภาพ ตลอดจนวิธีปรุงด้วยการทอดที่มีไขมันอื่นมาก ก็ทำให้ไขมันมากเกินไปด้วย การบริโภคด้วยสารที่หลากหลายที่เหมาะสม การปรุงที่ดีถึงจะมีประโยชน์ต่อร่างกายจริงๆ

Credit photo from vertihealth.com

 Tags

  •  บทความหน้าหลัก Hits 10 อันดับ (6 เดือน)
  • ยังไม่มีการจัดลำดับบทความรอบ 6 เดือน!
  •  กิจกรรม Hits 10 อันดับ (6 เดือน)
  • “พิษปลาปักเป้า” หากบริโภคเสี่ยงอันตรายถึงตายได้ “พิษปลาปักเป้า” หากบริโภคเสี่ยงอันตรายถึงตายได้  จำนวนผู้อ่าน 360  ลงพื้นที่ติดตามตรวจเยี่ยมองค์กรประมงท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชุม ลงพื้นที่ติดตามตรวจเยี่ยมองค์กรประมงท้องถิ่นวิสาหกิจชุมชุม  จำนวนผู้อ่าน 205 สำนักงานประมงอำเภอปากพลี เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการป้องกัน และลดอุบัติเหตุทางถนน  ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2566 สำนักงานประมงอำเภอปากพลี เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการป้องกัน และลดอุบ... จำนวนผู้อ่าน 204 ราคากุ้งขาวแวนนาไม ณ ปากบ่อ จังหวัดนครนายก ประจำเดือน มกราคม 2566  ราคากุ้งขาวแวนนาไม ณ ปากบ่อ จังหวัดนครนายก ประจำเดือน มกราคม 2566   จำนวนผู้อ่าน 148 เข้าร่วมรับฟังการประชุมชี้แจง การปรับเปลี่ยนมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของกรมประมง (GAP กรมประมง) เข้าร่วมรับฟังการประชุมชี้แจง การปรับเปลี่ยนมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของกรม... จำนวนผู้อ่าน 136 สำนักงานประมงอำเภอปากพลี ร่วมประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรอำเภอปากพลี  ตามโครงการพัฒนาการเกษตรระดับหมู่บ้าน สู่การผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูง สำนักงานประมงอำเภอปากพลี ร่วมประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรอำเภอปากพลี ... จำนวนผู้อ่าน 134 ราคากุ้งขาวแวนนาไม ณ ปากบ่อ ประจำเดือนธันวาคม 2565 ราคากุ้งขาวแวนนาไม ณ ปากบ่อ ประจำเดือนธันวาคม 2565  จำนวนผู้อ่าน 132 ประชุมติดตามความก้าวหน้าแผนฟื้นฟูผลผลิตกุ้งทะเลของประเทศไทย ครั้งที่ 7/2565  ประชุมติดตามความก้าวหน้าแผนฟื้นฟูผลผลิตกุ้งทะเลของประเทศไทย ครั้งที่ 7/2565   จำนวนผู้อ่าน 106 าร่วมโครงการขับเคลื่อนภารกิจด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการป้องกันปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบของกระทรวงมหาดไทย าร่วมโครงการขับเคลื่อนภารกิจด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการป้องกันปราบปรา... จำนวนผู้อ่าน 92 เข้าร่วมประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินการโครงการเสริมสภาคล่องเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเล ปี 2565 ระยะที่ 1 เข้าร่วมประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินการโครงการเสริมสภาคล่องเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ... จำนวนผู้อ่าน 89


    สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2566 สำนักงานประมงจังหวัดนครนายก

    รายละเอียด ศาลากลางจังหวัดนครนายก ชั้น 5 ถนนสุวรรณศร ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 สแกน QR Code เพื่อให้ Google Map นำทางไปได้ง่ายๆ หรือ กดตรงนี้ การเดินทางมายังสำนักงานประมงจังหวัดนครนายก (กรณีรถโดยสารสาธารณะ) 1.รถตู้สาย 58-967 กรุงเทพฯ-นครนายก-เขื่อนขุนด่าน จากอนุสาวรีย์ชัยฯ 6.00-18.00 น. / จากฟิวเจอร์ฯ 6.00-20.00 น.จากเขื่อนขุนด่าน 6.00-17.30 น. / จากนครนายก 4.30-17.30 น. (รถออกทุก 20 นาที) 2.บริษัท ขนส่ง จำกัด บริการรถโดยสารประจำทางทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ออกจากสถานีขนส่งหมอชิต 2 ถนนกำแพงเพชร 2 ทุกวันวันละหลายเที่ยว มีเส้นทาง คือกรุงเทพฯ – หินกอง – นครนายกกรุงเทพฯ – รังสิต – องครักษ์ – นครนายกกรุงเทพฯ – นครนายก – อรัญประเทศกรุงเทพฯ – องครักษ์ – โรงเรียนนายร้อย จปร. โดยต้องต่อรถเข้าเมืองอีก 7 กิโลเมตร 3.รถตู้ สายกรุงเทพฯ – นครนายก มีจุดขึ้นรถได้แก่จากกรุงเทพ ขึ้นรถที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บริเวณใต้ทางด่วน ฝั่งแฟชั่นมอลล์ รถออกทุก 40 นาทีจากนครนายก ขึ้นรถที่ รพ.นครนายก และบริเวณสี่แยกไฟแดงนครนายก รถออกทุก 40 นาที การเดินทางมายังสำนักงานประมงจังหวัดนครนายก (กรณีรถยนต์ส่วนบุคคล) 1.ตามทางหลวงหมายเลข 305 เลียบคลองรังสิต ผ่านอำเภอองครักษ์ ระยะทางประมาณ 107 กิโลเมตร 2.ไปตามทางหลวงหมายเลข 1 เลี้ยวขวาที่แยกหินกอง ไปตามถนนสุวรรณศรเส้นทางหลวงหมายเลข 33 จนถึงจังหวัดนครนายก ระยะทางประมาณ 137 กิโลเมตร เบอร์โทรศัพท์ 088-278-6208  email  fpo-nakhonnayok@dof.in.th  โทรศัพท์ 037-311024  FAX 037-311024  แฟนเพจ แฟนเพจ
    CreativeCommons Valid CSS! Explanation of WCAG 2.1 Level Triple-AA Conformance SSL Labs ipv6