การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566

 กลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ


การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 


ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566..คลิก

วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมกะโห้ ชั้น 1 อาคารเชิดชาย อมาตยกุล กรมประมง 
นายธเนศ พุ่มทอง ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 ผ่านการประชุมออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำเศรษฐกิจ 14 ชนิด (ปลานิล ปลาดุก ปลาแรด ปลาสลิด ปลาช่อน ปลาตะเพียนขาว  ปลาหมอ กบนา ปลาสวาย ปลากดเหลือง ปลากดหลวง ปลาเทโพ ปลายี่สกเทศ ปลานวลจันทร์เทศ) และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจาก ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดทั่วประเทศเข้าร่วมประชุม โดยมี นางสาวมาลาศรี คำศรี หัวหน้ากลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ ทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุฯ การประชุม  การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นสืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 โดยที่ประชุมได้พิจารณานำข้อคิดเห็นจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อบแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 มาพิจารณา- เพื่อการปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 (ปลานิล ปลาดุก ปลาสลิด ปลาช่อน และปลาแรด) ให้ครอบคลุมในทุกมิติและเหมาะสม ตลอดจนพิจารณาแนวทางการติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 -2570 (จำนวน 14 ชนิด) ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อนำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ.2565-2570 พิจารณาต่อไปวันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมกะโห้ ชั้น 1 อาคารเชิดชาย อมาตยกุล กรมประมง 
นายธเนศ พุ่มทอง ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 ผ่านการประชุมออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำเศรษฐกิจ 14 ชนิด (ปลานิล ปลาดุก ปลาแรด ปลาสลิด ปลาช่อน ปลาตะเพียนขาว  ปลาหมอ กบนา ปลาสวาย ปลากดเหลือง ปลากดหลวง ปลาเทโพ ปลายี่สกเทศ ปลานวลจันทร์เทศ) และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจาก ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดทั่วประเทศเข้าร่วมประชุม โดยมี นางสาวมาลาศรี คำศรี หัวหน้ากลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ ทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุฯ การประชุม  การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นสืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 โดยที่ประชุมได้พิจารณานำข้อคิดเห็นจากการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อบแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 มาพิจารณา- เพื่อการปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 - 2570 (ปลานิล ปลาดุก ปลาสลิด ปลาช่อน และปลาแรด) ให้ครอบคลุมในทุกมิติและเหมาะสม ตลอดจนพิจารณาแนวทางการติดตามการดำเนินการขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2565 -2570 (จำนวน 14 ชนิด) ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อนำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาสัตว์น้ำจืดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พ.ศ.2565-2570 พิจารณาต่อไป

 Tags



สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2568 กลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ

รายละเอียด  กลุ่มวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาธุรกิจ(กพพ) กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ชั้น 4 อาคารเชิดชาย อมาตยกุล กรมประมง เลขที่ 50 เกษตรกลาง แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900  email  inland.community@gmail.com  โทรศัพท์ 0 2562 0426
CreativeCommons Valid CSS! Explanation of WCAG 2.1 Level Triple-AA Conformance SSL Labs ipv6