ข่าวประชาสัมพันธ์ ฉบับที่ 3/2566 กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด ได้ส่งมอบต้นพลับพลึงแม่น้ำโขง ให้กับศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเลย

 กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด


ข่าวประชาสัมพันธ์ ฉบับที่ 3/2566 กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด ได้ส่งมอบต้นพลับพลึงแม่น้ำโขง ให้กับศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเลย 


ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

ข่าวประชาสัมพันธ์ ฉบับที่ 3/2566 กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด ได้ส่งมอบต้นพลับพลึงแม่น้ำโขง ให้กับศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเลย..คลิก

    ตามที่กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดได้รับมอบหมายให้ดำเนิน โครงการอนุรักษ์พลับพลึงแม่น้ำโขง Crinum viviparum ภายใต้แผนพัฒนาประมงในพื้นที่แม่น้ำโขงอย่างยั่งยืน พ.ศ.2566-2570  นั้น

          กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด ได้ทำการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับชีววิทยา นิเวศวิทยา การกระจายพันธุ์ อนุกรมวิธาน วงจรชีวิตของพรรณไม้น้ำชนิดนี้และนำข้อมูลมาใช้ในการขยายพันธุ์ พัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงที่เหมาะสม จนสามารถเพาะขยายต้นพันธุ์ได้จำนวนหนึ่ง และได้เก็บรักษาต้นพันธุ์ไว้ในห้องปฏิบัติการส่วนหนึ่ง ต้นพันธุ์บางส่วนได้ถูกนำไปเพาะเลี้ยงปลูกคืนในถิ่นที่อยู่อาศัยเดิม และ เนื่องจากพลับพลึงแม่น้ำโขงที่ใช้เป็นต้นพันธุ์ถูกเก็บมาจากพื้นที่จังหวัดเลย
และจังหวัดหนองคาย ประกอบกับสถานที่แปลงดินของอาคารพรรณไม้น้ำ ซึ่งเป็นสถานที่เพาะขยายพันธุ์ของ
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด
คับแคบไม่เพียงพอที่จะใช้เป็นสถานที่ศึกษาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของพลับพลึงแม่น้ำโขง ต่อไป และกลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด ได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด ให้ส่งมอบต้นพันธุ์พลับพลึงแม่น้ำโขงที่เพาะเลี้ยงอยู่ในแปลงดินทั้งหมดให้กับศูนย์วิจัยและพัฒนาประมง
น้ำจืดจังหวัดเลย เพื่อนำไปศึกษาต่อไป 

         ในวันพุธที่ 14 มิถุนายน 2566 เจ้าหน้าที่ของกลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด ได้ส่งมอบต้นพลับพลึงแม่น้ำโขง จำนวน 25 ต้น ให้กับเจ้าหน้าที่ของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเลย เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเลย จะเป็นหน่วยงานรายนงานผลการดำเนินการโครงการอนุรักษ์พลับพลึงแม่น้ำโขง Crinum viviparumภายใต้แผนพัฒนาประมงในพื้นที่แม่น้ำโขงอย่างยั่งยืน พ.ศ.2566-2570 ต่อไป 

 Tags

  •   Hits
  • นิทรรศการหมุนเวียน Wabi Kusa  นิทรรศการหมุนเวียน Wabi Kusa   จำนวนผู้อ่าน 31  เปิดงาน “วันประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35”  เปิดงาน “วันประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35”   จำนวนผู้อ่าน 26 กิจกรรม Workshop “การจัดสวนไม้น้ำจิ๋วในสไตล์ WABI-KUSA (วาบิคุสะ)” ในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35 กิจกรรม Workshop “การจัดสวนไม้น้ำจิ๋วในสไตล์ WABI-KUSA (วาบิคุสะ)” ในงานประมงน้อ... จำนวนผู้อ่าน 25 กิจกรรมทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง กิจกรรมทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง  จำนวนผู้อ่าน 24 งานแถลงข่าวการจัดงานวันประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35 งานแถลงข่าวการจัดงานวันประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35  จำนวนผู้อ่าน 24 นิทรรศการ  นิทรรศการ "ชุดเพาะฟักเคลื่อนที่ (Mobile Hatchery)" ในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่... จำนวนผู้อ่าน 23 กิจกรรม “ปล่อยปลาออนไลน์” ในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35 กิจกรรม “ปล่อยปลาออนไลน์” ในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35  จำนวนผู้อ่าน 21 นิทรรศการ  นิทรรศการ "นิทรรศการปลารูปร่างคล้ายงู" ในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35  จำนวนผู้อ่าน 19 การเตรียมความพร้อมทั้งสถานที่และสัตว์น้ำ ในการจัดงานวันประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35 การเตรียมความพร้อมทั้งสถานที่และสัตว์น้ำ ในการจัดงานวันประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ ... จำนวนผู้อ่าน 19 นิทรรศการ  นิทรรศการ "นิทรรศการสัตว์น้ำมีพิษ" ในงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35  จำนวนผู้อ่าน 16  "การรื้อถอนสถานที่และขนย้ายสัตว์น้ำกลับ" จากงานประมงน้อมเกล้าฯ ครั้งที่ 35  จำนวนผู้อ่าน 16 วสจ. สนองรับนโยบายของกรมประมง  วสจ. สนองรับนโยบายของกรมประมง   จำนวนผู้อ่าน 15 กิจกรรมการยกย่องผู้ปฏิบัติงานดีเด่นของหน่วยงาน กิจกรรมการยกย่องผู้ปฏิบัติงานดีเด่นของหน่วยงาน  จำนวนผู้อ่าน 11 กิจกรรมทำความสะอาด Big cleaning day กิจกรรมทำความสะอาด Big cleaning day  จำนวนผู้อ่าน 11 กิจกรรม 5 ส กิจกรรม 5 ส  จำนวนผู้อ่าน 10


    สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2568 กลุ่มวิจัยและพัฒนาสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืด

    รายละเอียด สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำกรุงเทพฯ กรมประมง  เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน  เกษตรกลาง  บางเขน  กรุงเทพฯ  10900   email  aquariumbkk4@gmail.com  โทรศัพท์ 02 940 6543  FAX 02 940 5623  แฟนเพจ แฟนเพจ
    CreativeCommons Valid CSS! Explanation of WCAG 2.1 Level Triple-AA Conformance SSL Labs ipv6