ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง ได้ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ทะเล โดยรวบรวมพันธุ์สัตว์ทะเลมีชีวิตที่หายากมาจัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ จังหวัดระยอง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ

 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)


ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง ได้ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ทะเล โดยรวบรวมพันธุ์สัตว์ทะเลมีชีวิตที่หายากมาจัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ จังหวัดระยอง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ 



ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง ได้ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ทะเล โดยรวบรวมพันธุ์สัตว์ทะเลมีชีวิตที่หายากมาจัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ จังหวัดระยอง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ..คลิก

ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง ได้ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ทะเล โดยรวบรวมพันธุ์สัตว์ทะเลมีชีวิตที่หายากมาจัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ จังหวัดระยอง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ. – กรมประมง) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้เข้ามาเยี่ยมชม โดยตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มิถุนายน 2565 ได้ดำเนินการรวบรวมสัตว์ทะเล จำนวน 556 ตัว ได้แก่ ปลาวัวหางชมพู 2 ตัว ปลาวัวบลูทิกเกอร์ 8 ตัว ปลาไฟร์ฟิช 30 ตัว ม้าน้ำ 10 ตัว ปลาตะคองเหลือง 120 ตัว ปลากะรังหัวโขน 12 ตัว ปลาไหลมอเรย์ 4 ตัว ปลาโนรีครีบยาว 15 ตัว ฉลามกบ 15 ตัว ฉลามครีบดำ 5 ตัว ปลาผีเสื้อปากยาว 10 ตัว ปลาอมไข่ครีบยาว 130 ตัว ปลาเสือพ่นน้ำ 80 ตัว และปลาการ์ตูนส้มขาว 115 ตัว และจัดแสดงนิทรรศการภายในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ จำนวน 2 ครั้ง

 Tags

  •  บทความหน้าหลัก Hits 10 อันดับ (6 เดือน)
  • ยังไม่มีการจัดลำดับบทความรอบ 6 เดือน!


    สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2566 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.)

    รายละเอียด โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) กรมประมง ชั้น 7 อาคารเชิดชาย อมาตยกุล กรมประมง เกษตรกลาง แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทมหานคร 10900    email  dof.royalfish@gmail.com  โทรศัพท์ 02 558 0217 สายภายใน 14707  FAX 02 558 0217
    CreativeCommons Valid CSS! Explanation of WCAG 2.1 Level Triple-AA Conformance SSL Labs ipv6