กรมประมง มุ่งพัฒนาเกษตรกรไทยสู่ Smart Farmer ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด จัดอบรมหลักสูตรเข้มข้น เสริมสร้างความรู้ เทคนิค และทักษะ ผสานเทคโนโลยี ยกระดับเกษตรกรยุคใหม่ก้าวสู่การเป็น Smart Farmer อย่างยั่งยืน

 กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด

กรมประมง มุ่งพัฒนาเกษตรกรไทยสู่ Smart Farmer ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด จัดอบรมหลักสูตรเข้มข้น เสริมสร้างความรู้ เทคนิค และทักษะ ผสานเทคโนโลยี ยกระดับเกษตรกรยุคใหม่ก้าวสู่การเป็น Smart Farmer อย่างยั่งยืน 

ข่าวประชาสัมพันธ์

ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

กรมประมง มุ่งพัฒนาเกษตรกรไทยสู่ Smart Farmer ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด จัดอบรมหลักสูตรเข้มข้น เสริมสร้างความรู้ เทคนิค และทักษะ ผสานเทคโนโลยี ยกระดับเกษตรกรยุคใหม่ก้าวสู่การเป็น Smart Farmer อย่างยั่งยืน..คลิก

               กรมประมง โดย กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เดินหน้าพัฒนาเกษตรกรไทยให้ก้าวสู่การเป็น "Smart Farmer" ผ่านการจัดฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้แก่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ และชุมพร จำนวน 50 คน โดยมีการจัดอบรม 2 รุ่น รุ่นที่ 1 วันที่ 19–20 มีนาคม 2568 และรุ่นที่ 2 วันที่ 25–26 มีนาคม พ.ศ. 2568 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ และเตรียมความพร้อมของเกษตรกรสู่การเป็น Smart Farmer ต่อไป

              โครงการนี้ มุ่งเน้นการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดให้แก่เกษตรกรในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการเกษตรและการเลี้ยงสัตว์น้ำ เช่น เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีการสืบค้นข้อมูล เทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI) เทคโนโลยีการควบคุมระยะไกล Smart Switch การควบคุมแบบคงที่ (Controller, Sensor and Transmitter) การควบคุมคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีด้านวัสดุศาสตร์, เทคโนโลยีด้านพลังงาน, เทคโนโลยีเพื่อการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนอัตโนมัติ, และการเติมออกซิเจนในน้ำ เพื่อพัฒนาด้านการเกษตรให้เข้ากับเทคโนโลยีล้ำสมัย สร้าง "Smart Farmer" หรือเกษตรกรยุคใหม่ ที่สามารถใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีในการบริหารจัดการฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้หลักการ Smart Agriculture หรือ Smart Farm เป็นหัวใจสำคัญของแนวคิดนี้ เพื่อเปลี่ยนวิธีการทำงานแบบเก่า มาสู่การใช้ข้อมูล (Data) และเทคโนโลยีในการบริหารจัดการการเกษตร เพื่อค้นหาวิธีการทำงานที่เหมาะสม ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และสร้างความยั่งยืนในหลักสูตร Smart Farmer ครอบคลุมทุกด้านของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดที่มีการผสานเทคโนโลยีที่นำมาประยุกต์ใช้ในการเกษตรอัจฉริยะมีหลากหลายหลักสูตร Smart Farmer นี้ เป็นมากกว่าหลักสูตรการเกษตร แต่เป็นหลักสูตรที่ช่วยยกระดับเกษตรกรไทยให้ก้าวทันโลกและสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคการเกษตรไทยได้อย่างยั่งยืน

ที่มา: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด กรมประมง โทร. 0 2562 0426

 

 Tags

  •   Hits
  • ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมินสมรรถนะ และกำหนดวัน เวลา สถานที่สอบ และระเบียบเกี่ยวกับการประเมินสมรรถนะ เพื่อเลือกสรรบุคคลเป็นพนักงานราชการทั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานประมง ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมินสมรรถนะ และกำหนดวัน เวลา สถานที่สอบ และร... จำนวนผู้อ่าน 219  กรมประมง มุ่งพัฒนาเกษตรกรไทยสู่ Smart Farmer ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด จัดอบรมหลักสูตรเข้มข้น เสริมสร้างความรู้ เทคนิค และทักษะ ผสานเทคโนโลยี ยกระดับเกษตรกรยุคใหม่ก้าวสู่การเป็น Smart Farmer อย่างยั่งยืน กรมประมง มุ่งพัฒนาเกษตรกรไทยสู่ Smart Farmer ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด จัดอบร... จำนวนผู้อ่าน 139 ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณ ปี 2568 ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณ ปี 2568  จำนวนผู้อ่าน 109 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานจัดเก็บข้อมูลและประเมินผลการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำด้วยวิธีประเมิน Catch per unit of effort (CPUE) ประชุมชี้แจงการดำเนินงานจัดเก็บข้อมูลและประเมินผลการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำด้วยวิธีป... จำนวนผู้อ่าน 106 ประชุมคัดเลือกเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรดีเด่นด้านการประมงระดับประเทศ ประเภทอาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประชุมคัดเลือกเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรดีเด่นด้านการประมงระดับประเทศ ประเภทอาชีพเ... จำนวนผู้อ่าน 92 ข้าราชการพลเรือนดีเด่นกรมประมง ประจำปี พ.ศ. 2567 ข้าราชการพลเรือนดีเด่นกรมประมง ประจำปี พ.ศ. 2567  จำนวนผู้อ่าน 90 พนักงานราชการดีเด่นกรมประมง พ.ศ. 2567 พนักงานราชการดีเด่นกรมประมง พ.ศ. 2567  จำนวนผู้อ่าน 80 ติดตามการปฏิบัติงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดร้อยเอ็ด ติดตามการปฏิบัติงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดร้อยเอ็ด  จำนวนผู้อ่าน 79 ติดตามการปฏิบัติงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดกาฬสินธุ์ ติดตามการปฏิบัติงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดกาฬสินธุ์  จำนวนผู้อ่าน 76 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568  นายวิศณุพร รัตนตรัยวงศ์ ผู้อำนวยการกองวิจัยเเละพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด พร้อมด้วยนายนิติกร  ผิวผ่อง ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดพระนครศรีอยุธยา พร้อมคณะเข้าเยี่ยมชมกิจกรรมการเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดราชบุรี วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 นายวิศณุพร รัตนตรัยวงศ์ ผู้อำนวยการกองวิจัยเเละพัฒนาก... จำนวนผู้อ่าน 74 ประชุมหารือการจัดทำข้อมูลเพื่อตอบแบบสำรวจความต้องการและ ความคิดเห็นของหน่วยงานระดับกอง ฯ ภายใต้โครงการพัฒนาระบบ วิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านการประมง (Fisheries Big Data Analytics System) ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (Al) ฯลฯ ประชุมหารือการจัดทำข้อมูลเพื่อตอบแบบสำรวจความต้องการและ ความคิดเห็นของหน่วยงานระ... จำนวนผู้อ่าน 72 ใบเกียรติบัตรยกย่องเชิดชูเกียรติ ใบเกียรติบัตรยกย่องเชิดชูเกียรติ  จำนวนผู้อ่าน 70 ข้าราชการผลเรือนดีเด่น พ.ศ. 2567 ข้าราชการผลเรือนดีเด่น พ.ศ. 2567  จำนวนผู้อ่าน 68 ติดตามการปฏิบัติงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดขอนแก่น ติดตามการปฏิบัติงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดขอนแก่น  จำนวนผู้อ่าน 65 วันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 นายสุชาติ แสงจันทร์ ผู้ตรวจราชการกรม พร้อมด้วยนายวิศณุพร รัตนตรัยวงศ์ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด นายสุภาพ แก้วละเอียดพร้อมคณะ ลงพื้นที่เพื่อตรวจเยี่ยมฟาร์มเกษตรกรที่เข้ารับการคัดเลือกเกษตรกรดีเด่นด้านการประมง ระดับประเทศ ประเภทอาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด วันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 นายสุชาติ แสงจันทร์ ผู้ตรวจราชการกรม พร้อมด้วยนาย... จำนวนผู้อ่าน 62


    สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2568 กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด

    รายละเอียด กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ชั้น 3 อาคารจรัลธาดา กรรณสูต กรมประมง เลขที่ 50 เกษตรกลาง แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900  email  inland.information2@gmail.com  โทรศัพท์ 0 2562 0585  FAX 0 2562 0585  แฟนเพจ แฟนเพจ
    CreativeCommons Valid CSS! Explanation of WCAG 2.1 Level Triple-AA Conformance SSL Labs ipv6