จัดฝึกอบรมเกษตรกร จำนวน 10 ราย ในหลักสูตร “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ (ปลายี่สกเทศ)”

 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเพชรบูรณ์


จัดฝึกอบรมเกษตรกร จำนวน 10 ราย ในหลักสูตร “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ (ปลายี่สกเทศ)” 


ส่ง email แชร์ X ส่ง Line แชร์ Facebook
ฟังเสียงบรรยาย
ฟังเสียงบรรยาย

จัดฝึกอบรมเกษตรกร จำนวน 10 ราย ในหลักสูตร “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ (ปลายี่สกเทศ)”..คลิก

วันที่ 4-5 มีนาคม 2568 นางปาริฉัตร  จันทร์เพ็ง ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเพชรบูรณ์ มอบหมายให้ นางสาวจิราภรณ์  พรหมชัยรัตน์ นักวิชาการประมงปฏิบัติการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ดำเนินการจัดฝึกอบรมเกษตรกร จำนวน 10 ราย ในหลักสูตร “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ (ปลายี่สกเทศ)” ภายใต้โครงการพัฒนาสินค้าเกษตรมูลค่าสูงด้านการประมง กิจกรรมส่งเสริมการเพาะเลี้ยงและพัฒนาธุรกิจสัตว์น้ำเศรษฐกิจ ชนิดปลายี่สกเทศ ประจำปีงบประมาณ 2568 พร้อมทั้งมอบใบประกาศนียบัตร และสนับสนุนปัจจัยการผลิต ได้แก่ ลูกพันธุ์ปลายี่สกเทศ ขนาด 3-5 เซนติเมตร รายละ 3,000 ตัว (30,000 ตัว) และจุลินทรีย์ ปม.1 รายละ 10 ซอง (100 ซอง) เพื่อให้เกษตรกรได้นำไปใช้ประโยชน์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำต่อไป

 Tags

  •   Hits
  • ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะ (สอบข้อเขียนและสัมภาษณ์)  เพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ตำแหน่งนักวิชาการประมง ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะ (สอบข้อเขียนและสัมภาษณ์) เพื่อ... จำนวนผู้อ่าน 382  โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่? (สัตว์น้ำจืด) โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่? (สัตว์น้ำจืด)  จำนวนผู้อ่าน 50 ปล่อยพันธุ์ปลา 6 ชนิด จำนวน 37,600 ตัว ได้แก่ ปลาเกล็ดเงิน 2,000 ตัว ปลายี่สกเทศ 10,000 ตัว ปลาตะเพียน 12,000 ตัว ปลาบ้า 10,000 ตัว ปลานิล 3,400 ตัว และปลาบึก 200 ตัว ปล่อยพันธุ์ปลา 6 ชนิด จำนวน 37,600 ตัว ได้แก่ ปลาเกล็ดเงิน 2,000 ตัว ปลายี่สกเทศ... จำนวนผู้อ่าน 49 ร่วมกันจัดเตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ ก่อนปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ ร่วมกันจัดเตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแห... จำนวนผู้อ่าน 45 ฝึกอบรมโครงการส่งเสริมอาชีพประมงกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเกษตรกรสู่ Smart Farmer และ Young Smart Farmer ฝึกอบรมโครงการส่งเสริมอาชีพประมงกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเกษตรกรสู่ Smart Farmer และ Y... จำนวนผู้อ่าน 32 เตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ เตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ  จำนวนผู้อ่าน 30 เตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ เตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ  จำนวนผู้อ่าน 30 ทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ  ทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ   จำนวนผู้อ่าน 27 ปล่อยพันธุ์ปลาบ้า จำนวน 40,000 ตัว เพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำ ปล่อยพันธุ์ปลาบ้า จำนวน 40,000 ตัว เพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำ  จำนวนผู้อ่าน 26  ห้ามจับปลาในฤดูวางไข่ห้ามจับปลาในฤดูวางไข่  จำนวนผู้อ่าน 20  "คลินิกประมง" ตามโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรส... จำนวนผู้อ่าน 20 จัดฝึกอบรมเกษตรกร จำนวน 10 ราย ในหลักสูตร “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ (ปลายี่สกเทศ)”  จัดฝึกอบรมเกษตรกร จำนวน 10 ราย ในหลักสูตร “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์... จำนวนผู้อ่าน 19 เพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชน ภายใต้โครงการบริหารจัดการทรัพยากรประมง เพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชน ภายใต้โครงการบริหารจัดการทรัพยากรประมง  จำนวนผู้อ่าน 18 จัดเตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ จัดเตรียมความพร้อมของแหล่งน้ำ ด้วยการทำฟางหมักเพื่อสร้างอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ  จำนวนผู้อ่าน 17 ปฏิบัติงานโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมพัฒนาคุณภาพสินค้าประมงสู่มาตรฐาน ( GAP มกษ.7436-2563) ปฏิบัติงานโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมพัฒนาคุณภาพสินค้าประมงสู... จำนวนผู้อ่าน 17


    สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2568 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเพชรบูรณ์

    รายละเอียด 99/1 ม.3 ต.สะเดียง อ.เมืองเพชรบูรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 67000  email  sfphetchabun@gmail.com  โทรศัพท์ 056-721-815  FAX 056-721-815  แฟนเพจ แฟนเพจ
    CreativeCommons Valid CSS! Explanation of WCAG 2.1 Level Triple-AA Conformance SSL Labs ipv6