ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเชียงราย ได้ดำเนินงานโครงการสำรวจและรวบรวมพันธุ์ปูแม่ฟ้าหลวงและสัตว์น้ำประจำถิ่น เพื่อการอนุรักษ์ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ


[2023-05-18] ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งระยอง ได้ดำเนินงานโครงกา.. [2023-05-18] ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง ได้ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์สร้างจิตสำนึกใน.. [2023-02-21] กรมประมงจัดการประชุมคณะทำงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพ.. [2023-02-21] ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งตราด ได้ดำเนินงานโครงการ.. [2022-11-21] กรมประมงเข้าร่วมการจัดนิทรรศการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจ.. [2022-11-15] ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง ได้ดำเนินงานพิพิธภัณฑ์สร้างจิตสำนึกใน.. [2022-11-15] ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเชียงราย ได้ดำเนินงานโครงการ.. [2022-11-15] ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดสตูล ได้ดำเนินงานจัดทำจุดเรียนรู้และสาธิต.. [2022-11-11] ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งตราด ได้ดำเนินงานโครงการ.. [2022-11-11] ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งตราด ได้ดำเนินงานโครงกา.. อ่านทั้งหมด 

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเชียงราย ได้ดำเนินงานโครงการสำรวจและรวบรวมพันธุ์ปูแม่ฟ้าหลวงและสัตว์น้ำประจำถิ่น เพื่อการอนุรักษ์ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ 

 ข่าวประชาสัมพันธ์  หน่วยงาน  หน่วยงานส่วนภูมิภาค

ส่ง email ทวิต Tweeter ส่ง Line แชร์ Facebook

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเชียงราย ได้ดำเนินงานโครงการสำรวจและรวบรวมพันธุ์ปูแม่ฟ้าหลวงและสัตว์น้ำประจำถิ่น เพื่อการอนุรักษ์ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ. – กรมประมง) บริเวณตำบลแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย โดยได้ดำเนินการสำรวจฯ จำนวน 3 ครั้ง มีพันธุ์สัตว์น้ำที่สำรวจพบ จำนวน 10 ชนิด 287 ตัว ได้แก่ ปลาค้างคาว 84 ตัว ปลาค้อ 65 ตัว ปลาน้ำหมึก 12 ตัว ปลามอน 15 ตัว ปลาก้าง 11 ตัว ปลาซิวใบไผ่ 63 ตัว ปลาบู่แคระ 15 ตัว กุ้งลำธาร 12 ตัว ปูลำธาร 7 ตัว และกบเปอะ 3 ตัว และจัดทำจุดเรียนรู้การอนุรักษ์พันธุ์ปูแม่ฟ้าหลวงและสัตว์น้ำประจำถิ่น จำนวน 1 แห่ง รวมทั้งผลิตและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำประจำถิ่น คืนแหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่ จำนวน 3,000 ตัว ได้แก่ ปลาแก้มช้ำ 2,500 ตัว และปลาก้าง 500 ตัว